naruto

.

วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

วิชานินจาทั้งหมดในเรื่องนารูโตะ

กระบวนท่า ลูกเตะจักรผัน ผู้ใช้ ร็อค ลี  ลูกเตะจักรผันลูกสิงห์ เป็นท่าที่ก๊อปปี่มาจากกระบวนของร็อค ลี ผู้ใช้ อุจิวะ ซาสึเกะ  ลูกเตะจักรผันอุซึมากิ นารุโตะ ผู้ใช้ อุซึมากิ นารุโตะ(นารุโตะเลียนเเบบมาจากอุจิวะ ซาซึเกะ)  จิ้มทะลวงข้ามสหัสวรรษ ผู้ใช้ อุซึมากิ นารุโตะ,ฮาตาเกะ คาคาชิ  สลาตันโคโนฮะ ผู้ใช้ ร็อค ลี,โมโตะ ไก  ลมเหินโคโนฮะ ผู้ใช้ โมโตะ ไก,ร็อค ลี  มวยอ่อนแปดทิศหกสิบสี่ฝ่ามือ - เป็นการจู่โจมประชิดตัวคู่ต่อสู้ ผู้ใช้ (ตระกูล ฮิวงะ)  ฝ่ามือแปดทิศเคลื่อนสวรรค์ - เป็นการป้องกันตัวจากจุดอ่อนของเนตรสีขาว ผู้ใช้ ฮิวงะ เนจิ กับ ฮิวงะ ฮิอาชิ (ตระกูล ฮิวงะ)  หมัดกระหน่ำต่อเนื่อง - เป็นการโจมตีที่เฉพาะซาคอนกับอูคอนเท่านั้นที่ทำได้  ระบำหลิว ผู้ใช้ คิมิมาโร่  ระบำซึมากิ - เป็นการโจมตีด้วยกระดูกไหล่ ผู้ใช้ คิมิมาโร่  ระบำดอกไม้ลวดเหล็ก ผู้ใช้ คิมิมาโร่  ระบำต้นเฟิร์น - เป็นการงอกกระดูกทั่วตัวออกมามากที่สุด ผู้ใช้ คิมิมาโร่  ระบำต้นสน ผู้ใช้ คิมิมาโร่  จิ้มทะลวงข้ามสหัสวรรษยันระเบิด ผู้ใช้ อุซึมากิ นารุโตะ  ฝ่ามือว่างแปดทิศ ผู้ใช้ ฮิวงะ เนจิ  ระบำจันทราสามทิวาสายโคโนะฮะ ผู้ใช้ เก็คโค ฮายาเทะ [แก้] คาถา[แก้] เงา เงาเลียนแบบ - ตระกูลนารา - วิชานี้เป็นวิชาสำหรับหยุดการเคลื่อนไหวของศัตรู เเต่เวลาจะใช้คาถานี้จะต้องบังคับเงาของผู้ใช้ให้โดนศัตรู  คาถาเงารัดคอ - เป็นการนำเงามาบีบคอศุตรู ผู้ใช้ นารา ชิกามารุ พ่อของชิกามารุ  คาถาเงาพันธนาการวิชาลับแห่งโคโนะฮะ ผู้ใช้ พ่อของชิกามารุ [แก้] แปลงกาย คาถาแยกเงาพันร่าง - ผู้ใช้ อุซึมากิ นารุโตะ และ ฮาตาเกะ คาคาชิ (โจนินทุกนาย)  คาถาแปลงกาย  คาถาฮาเร็ม ผู้ใช้ นารูโตะ คาถามหารัญจวนผสมกับคาถาแยกเงาพันร่าง ผู้ใช้ อุซึมากิ นารุโตะ  คาถามหารัญจวน ผู้ใช้ อุซึมากิ นารูโตะกับโคโนฮามารุ  คาถานินจาภาพอสูรสัตว์เทียม - ผู้ใช้ซาอิ [แก้] ไฟ คาถาไฟลูกบอลเพลิง ผู้ใช้ ตะกุลอุจิวะ  คาถาไฟลูกไฟนกฟีนิกซ์ - เป็นการปล่อยลูกไฟคล้ายศรไปโจมตีศัตรู ผู้ใช้ ตระกูลอุจิวะ  คาถาเพลิงลูกไฟยักษ์ - เป็นการพ่นไฟลูกยักษ์ออกมาจากปาก ผู้ใช้ ตระกูลอุจิวะ  คาถาไฟระเบิดมังกรเพลิง - เป็นการพ่นลูกไฟรูปร่างคล้ายมังกรออกมา ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 3  คาถาไฟ เพลิงกระสูนน้ำมันกบ - ให้คนอันเชิญกบพ่นไฟออกมาเล็กน้อยแล้วกบก็พ่นน้ำมันออกมา ผู้ใช้ จิไรยะกับกามะบุนตะ [แก้] วิชาอื่นๆ คาถาเขี้ยวประสานเขี้ยว - เป็นการหมุนตัวไปพุ่งชนกับศัตรู(ใช้คู่กับสุนัข) ผู้ใช้ อุโนะซึกะ คิบะ และ อากามารุ  คาถาเชิญ(คาถาอัญเชิญ) - เป็นการเรียกสัตว์ที่ทำสัญญาออกมา ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 3,4,5 โอโรจิมารุ จิไรยะ อุซึมากิ นารุโตะ ฮาตาเกะ คาคาชิ ฯลฯ  คาถาพันธนาการแมงมุม ผู้ใช้ คิโดมารุ  คาถาแยกเงาพันร่าง ผู้ใช้ อุซึมากิ นารุโตะ โฮคาเงะรุ่นที่4และ3 ฮาตาเกะ คาคาชิ (โจนินทุกนาย)  คาถาหมาป่าประสานเขี้ยว ผู้ใช้ อุโนะซึกะ คิบะกับอากามารุ  คาถาใยโลหะ - เป็นการพ่นใยที่เหนี่ยวและแข็งออกมา ผู้ใช้ คิโดมารุ  คาถาคนสัตว์ประสานร่างแปลงกาย ผู้ใช้ อินุซึกะ คิบะกับอากามารุ  คาถาลับวารีพร่างพันสังหาร ผู้ใช้ ฮาคุ  คาถาลับห้องมาตราผลึกน้ำแข็ง ผู้ใช้ ฮาคุ  คาถาสะกดผนึกซากอสูร ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 4,3  คาถาเชิญสัมภเวสีคืนชีพ ผู้ใช้ โอโรจิมารุ  คาถาน้ำ กำแพงวารี ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 2  คาถาดิน กำแพงพสุธา ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 3  คาถาเนตรสีขาว สำหรับตระกูลฮิวงะเท่านั้น  คาถาเพลิง กำเเพงอัคคี ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 3  คาถาไม้กำเนิด บ้านพฤกษา ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 1  คาถาน้ำ ระเบิดมังกรวารี ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 2  คาถานินจาขยายร่าง - เป็นการขยายร่างกาย ผู้ใช้ พ่อของโจจิ,โจจิ(ตระกูลอาคามิจิ)  คาถาเนตรวงแหวน [สำหรับคนในตระกูลอุจิวะเท่านั้นที่เป็นผู้ใช้ได้ ดูที่[ขีดจำกัดสายเลือด นินจาคาถาโอ้โฮเฮะขีดจำกัดสายเลือด]]  คาถาเนตรวงแหวนกระจกเงาหมื่นบุปผา ผู้ใช้ อุจิวะ อิทาจิ,ฮาตาเกะ คาคาชิ (จะได้คาถานี้มาจะต้องฆ่าคนที่สนิทที่สุด)(เฉพาะคนในตระกูลอูจิวะเท่านั้น)  คาถาเนตรอ่านจันทรา ผูใช้ อุจิวะ อิทาจิ  คาถากระสุนวงจักร ผู้ใช้ จิไรยะ,โฮคาเงะรุ่นที่ 4,อุซึมากิ นารุโตะ  คาถาพันปักษา ผู้ใช้ อุจิวะ ซาสึเกะ,ฮาตาเกะ คาคาชิ  คาถาตัดสายฟ้า ผู้ใช้ ฮาตาเกะ คาคาชิ,อุจิวะ ซาสึเกะ  คาถากระสุนวงจักรลูกบอลยักษ์ ผู้ใช้ อุซึมากิ นารุโตะ(ตอนใช้จักระของจิ้งจอก9หาง)  คาถาเคลื่อนพสุธา  คาถาพันธนาการปากกบ เป็นการอัญเชิญกระเพาะกบ ผู้ใช้ จิไรยะ  คาถากบบ่อน้ำมัน  อารักษ์เข็มหิน ผู้ใช้ จิไรยะ  คาถาน้ำ วิชากระสุนน้ำ เป็นการใช้จักระทำให้น้ำพุ่งเข้าใส่ศัตรู ผู้ใช้โฮชิงาคิ คิซาเมะ,ฮาตาเกะ คาคาชิ  คาถาระเบิดร่างแยกน้ำ ผู้ใช้ อุจิวะ อิทาจิ  คาถาน้ำร่างแยกน้ำ ผู้ใช้ โมโมจิ ซาบุซะ,คิซาเมะ,ฮาตาเกะ คาคาชิ,โฮชิงาคิ คิซาเมะ  คาถาเชิญหุ่นเชิด ผู้ใช้ คันคุโร่,ย่าโจ,ซาโซริ  คาถาน้ำมังกรถล่มพสุธา  คาถาเนตรเทพีสุริยา ผู้ใช้ อุจิวะ อิทาจิ  คาถาดิน ดินระเบิด  คาถาพิษอัศนีเข็มพิษ  คาถาน้ำ5ฉลามกลืนกิน ผู้ใช้ โฮชิงาคิ คิซาเมะ  คาถาลวงตาต้นซากุระ  คาถาหมอกลมหวน  คาถาจิตย้ายร่าง ผู้ใช้ อิโนะ,พ่อของอิโนะ  คาถามีดสุภัพเทวี(อัญเชิญ) ผู้ใช้ โอโรจิมารุ  คาถาวิชาโปร่งใส่ ผู้ใช้ จิไรยะ  คาถามือ มีดตัดกระดูก ผู้ใช้ ยาคุชิ คาบูโตะ  คาถาลม ลมหวน(พิษ)  คาถาโลงศพพันธนาการทราย ผู้ใช้ ซาบาคุ กาอาระ  คาถาดิน ทานูกินิทรา ผู้ใช้ ซาบาคุ กาอาระ  คาถาลวงตา ผู้ใช้ ซากุระ,คุเรไน  คาถาน้ำ คุกน้ำ ผู้ใช้ ซาบุซะ,คิซาเมะ  คาถาดิน คุกพสุธา ผู้ใช้ จิโรโบ  คาถาดิน ข้าวปั้นพสุธา ผู้ใช้ จิโรโบ  คาถาน้ำ ระเบิดมังกรวารี เป็นการพ่นน้ำออกมาเป็นรูปมังกรพุ่งเข้าใส่ศัตรู ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 2  คาถาลวงตาอนธนาการ เป็นคาถาลวงตาทำให้ศัตรูเห็นแต่ความมืด ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 1  คาถาลมเคียวสายลม ผู้ใช้ เทมาริ  คาถาแยกเงาดาวกระจาย ผู้ใช้ โฮคาเงะรุ่นที่ 3  คาถาดิน สละชีพบันศีรษะ ผู้ใช้ คาคาชิ  คาถาผนึก ผนึก9วิถีมังกรมายา เป็นคาถาที่ดึงสัตว์หางออกจากพลังสถิตร่าง ผู้ใช้ กลุ่มแสงอุษา  แยกเงาพันร่างซับซ้อน ผู้ใช้ นารุโตะ  คาถาน้ำแยกร่างน้ำ ผู้ใช้ ซาบุซะ,คิซาเมะ,ฮาตาเกะ คาคาชิ  คาถาแยกร่างเงาหลอน  คาถานินจาหมอกพิษ ผู้ใช้ ชิซึเนะ  คาถานินจางูแฝดแรกชิวิต ผู้ใช้ อังโกะ,โอโรจิมารุ  คาถาจิตป่วนกาย ผู้ใช้ พ่อของอิโนะ  คาถาหัตถ์เงาอสรพิษรัดพัน ผู้ใช้ โอโรจิมารุ,อังโกะ  คาถาแยกร่างไม้ ผู้ใช้ โฮคาเงะรุนที่ 1,ยามาโตะ  คาถาน้ำคลื่นน้ำระเบิดจู่โจม ผูใช้ คิซาเมะ  คาถาระเบิดทรายส่งวิญญาณ ผู้ใช้ กาอาระ  คาถาขยายร่างมหายักษ์ ผู้ใช้ โจจิ , พ่อของโจจิ  คาถานินจาวิชาสีร่างอำพราง  คาถาดินถล่ม  คาถาดินฝ่ามือเคลื่อนพสุธา  คาถาเขี้ยวทะลวง ผู้ใช้ อินุซึกะ คิบะ  คาถานําเเข็ง พายุหิมะมังกรมืด  คาถานําเเข็ง วาฬเผือกเขาเดียว  คาถานําเเข็ง ฝูงหมาป่าหิมะ  คาถานําเเข็ง พายุหิมะมังกรมืดคู่  คาถาซากุระฟูบุกิ ผู้ใช้ ซากุระ [แก้] ท่าไม้ตาย พันปักษา - (千鳥, จิโดะริ, ความหมาย นกพันตัว) ผู้ใช้ ฮาตาเกะ คาคาชิ อุจิวะ ซาสึเกะ  ตัดสายฟ้า - (雷切, ไรกิริ, ตัดสายฟ้า) ผู้ใช้ ฮาตาเกะ คาคาชิ อุจิวะ ซาสึเกะ  กระสุนวงจักร (螺旋丸, ระเซ็นงัน, ทรงกลมหมุนเกลียว) - ผู้ใช้ จิไรยะ โฮคาเงะรุ่นที่ 4 อุซึมากิ นารุโตะ  กระสุนวงจักรลูกบอลยักษ์ - ผู้ใช้ อุซึมากิ นารุโตะ  เคียวสายลม - ผู้ใช้ เทมาริ  อ่านจันทรา - ผู้ใช้ อุจิวะ อิทาจิ  เทวีสุริยา - ผู้ใช้ อุจิวะ อิทาจิ  มหาพิธีศพทะเลทราย - ผู้ใช้ กาอาระ  หมาป่าประสานเขี้ยว - ผู้ใช้ อุนุซึกิ คิบะกับอากามารุ  คาถาเงารัดคอ- ผู้ใช้ นารา ชิกามารุ,พ่อของชิกามารุ  มวยอ่อนแปดทิศหกสิบสี่ฝ่ามือ -ผู้ใช้ ฮิวงะ เนจิ,ฮิวงะ ฮิอาชิ  บัวบานย้อนกลับ - ผู้ใช้ ร๊อก ลี,ไมโตะ ไก  รถถังมนุษย์,คาถาขยายร่างมหายักษ์ - ผู้ใช้ โจจิ,พ่อของโจจิ  โจมตีสารพัน - ผู้ใช้ คันคุโร่  เนตรวงแหวน - ผู้ใช้ อุจิวะ ซาสึเกะ,อุจิวะ อิทาจิ ,คาคาชิ,อุจิวะ โอบิโตะ,อุจิวะ ฟุงะกุ  เนตรวงแหวนกระจกเงาหมื่นบุปผา - ผู้ใช้ อุจิวะ อิทาจิ,ฮาตาเกะ คาคาชิ  พันปักษาสีดำ - ผู้ใช้ อุจิวะ ซาสึเกะ  พัดสังหาร- ผู้ใช้ เทมาริ  กระบวนท่าไม้ตายลับจิ้มทะลวงข้ามสหัสวรรษ - ผู้ใช้ฮาตาเกะ คาคาชิ อุซึมากิ นารูโตะ  ยูงทองแรกอรุณ(ไมโตะ ไก) [แก้] คาถาเชิญ กบ(กามะบุนตะ) - ผู้ใช้ จิไรยะ, โฮคาเงะรุ่นที่4,นารุโตะ  งู(มันดะ) - ผู้ใช้ โอโรจิมารุ,คาบูโตะและซาซึเกะ  ทาก(คัตซึยุ) - ผู้ใช้ ซึนาเดะ(โฮคาเงะรุ่นที่5)กับซากุระ  วานรเอ็มม่า - ผู้ใช้ อาจารย์ ซารุโทบิ(โฮคาเงะรุนที่3)  สุนัข(คาถาหน่วยล่าสังหาร)-ผู้ใช้ คาคาชิ  แมงมุม - ผู้ใช้ คิโดมารุ  เต่า - อาจารย์ ไก  คาไมทาจิ - เทมาริ  ราโชมอน -ซาคอน,อูคอน,โอโรจิมารุ  มัมมี่ -ทายูยะ - อันที่จริงทายูยะไม่ได้อัญเชิญแต่เป็นภาพลวงตาที่เกิดจากเสียขลุ่ยของทายูยะ

วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2550


สุนัข หรือ หมา เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Canidae ออกลูกเป็นตัว ลำตัวมีขนปกคลุม มีเขี้ยว 2 คู่ ตีนหน้า มี 5 นิ้ว ตีนหลังมี 4 นิ้ว ซ่อนเล็บไม่ได้ อวัยวะเพศของตัวผู้มีกระดูกอยู่ภายใน 1 ชิ้น ที่ยังคงเป็นสัตว์ป่า เช่น หมาใน (Cuon alpinus) ที่เลี้ยงเป็นสัตว์บ้าน คือ ชนิด Canis familiaris สุนัขเป็นสัตว์ที่มีหลายพันธุ์ เช่น ลาบราดอร์, โกลเด้น, ชิวาวา และอีกมากมาย มีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ดุและไม่ดุ พันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ เช่น โกลเด้น ลาบราดอร์ ที่มีขนาดเล็ก เช่น ชิวาวา ชิสุ ส่วนที่ดุ ได้แก่ ร็อดไวเลอร์ อัลเซเชียน สุนัขแต่ละพันธุ์จะมีนิสัยแตกต่างกัน

วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

ความเป็นมาของชื่อนารูโตะ


อุซึมะกิ (うずまき) มีความหมายว่า "ขดเป็นวง" เป็นสัญลักษณ์ของจิ้งจอกเก้าหางที่โดนผนึกไว้ที่ท้องของนารูโตะ
นะรูโตะ สามารถหมายถึงได้สองอย่างคือ น้ำวน หรือ1 คะมะโบะโกะ (ลูกชิ้นปลาชนิดหนึ่งที่มีสีขาวและชมพูโดยมีลวดลายเป็นวงตรงกลาง) นิยมใส่ในราเม็ง ซึ่งเป็นอาหารโปรดของนารูโตะที่ชอบรับประทานที่สุดหรือเรียกอีกอย่างแบบไทยว่าก๋วยเตี๋ยวนั้นเอง

ประวัตินารูโตะ


นารูโตะ นินจาของหมู่บ้านโคโนฮะ ผู้ที่ถูกผนึกจิ้งจอกเก้าหางใว้ในท้องในช่วงที่เกิดใหม่ โดยโฮคาเงะรุ่นที่ 4 ผู้สละชีวิตตัวเองต่อสู้กับปีศาจจิ้งจอกเก้าหางและได้กลับกลายเป็นเด็กไปอีกครั้งหนึ่งซึ่งมีพลังจักระมากกว่านินจาทั่วไปรวม100เท่าเพราะได้อิทธิพลมาจาก จักระ ของจิ้งจอก9หางและโฮคาเงะรุ่น4 จึงสามารถเรียนวิชาของรุ่นที่4ได้ง่ายกว่าใครๆอย่างกะสุนวงจักรเป็นต้น นารูโตะเติบโตมากับความโดดเดี่ยวที่ไม่มีพ่อและแม่ และมากกว่านั้นนารูโตะโดนนินจาผู้ใหญ่ในหมู่บ้านคนอื่นเกลียดชัง เนื่องจากหาว่ามีจิ้งจอกเก้าหางที่เคยมาทำลายหมู่บ้านอยู่ในร่างกาย อููมิโนะ อิรุกะ อาจารย์คนแรกของนารูโตะเป็นคนที่ให้ความสำคัญและดูแลเอาใจใส่นารูโตะเหมือนลูก อิรุกะเข้าใจความรู้สึกของนารูโตะเนื่องจากมีชีวิตในวัยเด็กเหมือนกัน ที่สูญเสียพ่อแม่ตั้งแต่เด็กและจิ้งจอกเก้าหางที่สิงอยู่ในร่างของนารูโตะนั้นเคยทำร้ายพ่อแม่ของครูอิรุกะอีกด้วย 12ปีต่อมานารูโตะตัวแสบของหมู่บ้านโคโนฮะเข้าสอบเพื่อเลื่อนเป็นเกะนินแต่ไม่สำเร็จ และได้ถูกมิซึกิหลอกให้ไปเอาคัมภีร์ที่รวบรวมวิชานินจามาให้ เพื่อตนเองจะได้เอาไปและให้นารูโตะเป็นแพะรับบาป แต่อิรุกะได้มาช่วยนารูโตะไว้ มิซึกิได้บอกว่าในตัวนารูโตะมีตัวจิ้งจอกเก้าหางอยู่ในตัวและได้ฆ่าพ่อแม่ของอิรุกะ ได้เรียนวิชานินจากับซาซึเกะ,ซากุระ และครูคาคาชิซึ่งร่วมมือกันในภารกิจต่างๆในหน่วย7 โดยเฉพาะภารกิจที่ช่วยคุ้มครองการสร้างสะพาน ตอนภาคสอง นารูโตะและซากุระพร้อมกันไปช่วย กาอาระ{คาเซคาเงะ}ที่โดนกล่มแสงอุษาลักพาตัวไป
ฉายา นินจาจอมเพี้ยน-นินจาอันดับหนึ่งด้านเหนือความคาดหมาย

สถานที่ท่องเที่ยวของอำเภอปาย

วัดกลาง ตั้งอยู่ที่ตำบลเวียงใต้ ภายในวัดมีพระเจดีย์องค์ใหญ่ ศิลปไทยใหญ่แท้ประดิษฐานอยู่กลางลานวัด มีเจดีย์ทรงมอญรายล้อมโดยรอบใต้เจดีย์ทำเป็นซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปประจำวัน เหนือฐานเจดีย์องค์ใหญ่ทำเป็นมณฑปยอดมงกุฎ-----------------------------------------------------------น้ำตกหมอแปง อยู่หมู่ที่ 4 บ้านหมอแปง ตำบลแม่นาเติง เดินทางโดยรถยนต์ได้สะดวก และมีชาวเขา เผ่ามูซอแดง อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง บริเวณรอบๆ น้ำตก มีป่ายางร่มรื่น อยู่ห่างจาก ตัวอำเภอปายประมาณ 8-9 กม. (สายปาย-แม่ฮ่องสอน) ใกล้กับน้ำตกหมอแปง คือ น้ำตกม่วงสร้อย แต่ทางเข้ายังไม่สะดวก จากปากทางเข้ามา 4 กม.ถึงปายรีสอร์ท ปัจจุบันถนนเข้าถึงตัวน้ำตก-----------------------------------------------------------หมู่บ้านกะเหรี่ยงแม่ปิงอยู่หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ฮี้ ชาวบ้านเผ่านี้มีภาษาเขียนของตนเองและมีความเจริญ ด้านอารยธรรมสูง การคมนาคมสามารถเดินทางได้โดยรถยนต์-----------------------------------------------------------วัดน้ำฮูอยู่ที่หมู่ 5ตำบลเวียงใต้ ห่างจากตัวอำเภอไปทางทิศตะวันตกประมาณ 3 กม. เป็นที่ประดิษฐาน หลวงพ่ออุ่นเมือง ซึ่งเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ทำด้วยโลหะทองสัมฤทธิ์ หน้าตักกว้าง 28 นิ้ว สูง 30 นิ้ว พระพุทธรูปองค์นี้พระเศียรกลวง ส่วนบนเปิดปิดได้และมีน้ำขังอยู่ เป็นพระพุทธรูปสิงห์สาม อายุประมาณ 500 ปี เมื่อ พ.ศ. 2515 มีพระธุดงค์จากอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ มานมัสการและสงสัยว่าข้างในพระจะมีน้ำจึงเปิดดูพบว่ามีน้ำจริงๆ ข่าวนี้แพร่ออกไปก็มีผู้คนหลั่งไหลมาขอน้ำไปสักการะพอน้ำในพระเศียรหมดก็จะมีไหลออกมาอีกในลักษณะซึกออกมาตลอดเวลาด้านหลังมีองค์พระเจดีย์ ตามประวัติเล่าว่า พระสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงสร้างเพื่อบรรจุพระอัฐิของพระพี่นางสุพรรณกัลยา-----------------------------------------------------------เจดีย์พระธาตุแม่เย็น อยู่ที่บ้านแม่เย็น ตำบลแม่ฮี้ ตามเส้นทางสายแม่ฮ่องสอน-ปาย เป็นเจดีย์ที่สร้างสมัยใด ไม่ปรากฎ ตั้งอยู่บนเนินสูง และเมื่อขึ้นไปนมัสการ องค์พระธาตุแม่เย็น จะมองเห็นทิวทัศน์ ของอำเภอปายโดยทั่วถึง เป็นจุดสังเกต ของผู้โดยสารเครื่องบิน ว่าเข้าเขตอำเภอปายแล้ว-----------------------------------------------------------น้ำตกแม่เย็นอยู่ที่บ้านแม่เย็น ตำบลแม่ฮี้ ห่างจากอำเภอปาย ประมาณ 7 กม. เป็นน้ำตกขนาดสูง 3 ชั้น และสวยงามที่สุดของอำเภอ การคมนาคมโดยการเดินเท้าใช้เวลา 3-5 ชั่วโมง-----------------------------------------------------------โป่งน้ำร้อนท่าปาย รวมภาพ ภาพเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหว2อยู่ในป่าแม่ปายฝั่งซ้ายตอนบนท้องที่ตำบลแม่ฮี้ โดยใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 1095 (ปาย-แม่มาลัย) ข้ามสะพานแม่น้ำปายถึงบริเวณหลักกม.ที่ 87-88 แยกซ้ายเข้าไปอีก 2 กม. ตามทางเข้าบ้านท่าปาย เป็นทางราดยางตลอดทั้งสาย สภาพของโป่งน้ำร้อนเป็นบ่อน้ำร้อนน้ำกำลังเดือนเป็นฟองๆ และมีหมอกควันปกคลุมพื้นที่ พร้อมทั้งมีน้ำร้อนไหลเรื่อยๆ ทั่วบริเวณกว้างมีบ่อใหญ่สองบ่อ นอกนั้นมีลักษณะเป็นน้ำผุดบางจุดความร้อนประมาณ 80 องศาเซลเซียส และรอบๆ โป่งร้อนเป็นไม้สักที่สมบูรณ์มาก ภายในบริเวณอนุญาตให้ตั้งเต็นท์พักแรมได้ แต่ไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกใดๆ ทั้งสิ้น-----------------------------------------------------------กองแลนอยู่ในเขตบ้านร้องเหย่ง ห่างจากอำเภอประมาณ 7 กม. สามารถเดินทางได้โดยทางหลวงหมายเลข 1095 (ปาย-แม่มาลัย) บริเวณหลักกม.ที่ 88 อยู่ทางด้านขวามือ และต้องเดินเข้าไปอีกประมาณ 200 เมตร ลักษณะเป็นผืนดินที่ถูกกัดเซาะเป็นร่องลึกคล้ายหน้าผาติดต่อกันเป็นบริเวณกว้างประมาณ 5 ไร่เศษ (คล้ายกับแพะเมืองผีของจังหวัดแพร่) สามารถเดินทางไปท่องเที่ยวได้ทุกฤดูกาล-----------------------------------------------------------ห้วยจอกหลวงเป็นแหล่งอนุรักษ์ต้นน้ำห้วยจอกหลวงอยู่บริเวณป่าแม่ยะ ตำบลแม่ฮี้มีการปลูกไม้ดอกไม้หนาวหลายชนิดและออกดอกในฤดูหนาวตั้งอยู่บนภูเขาและมีทิวทัศน์สวยงามมาก อยู่ห่างจากอำเภอปายประมาณ 43 กม. ฤดูที่เหมาะแก่การท่องเที่ยวคือ ฤดูหนาว-----------------------------------------------------------โป่งน้ำร้อนเมืองแปงอยู่ในเขตบ้านเมืองแปง ตำบลเมืองแปงเป็นบ่อน้ำพุร้อนขนาดใหญ่ ห่างจากอำเภอปาย ประมาณ 28 กม. โดยใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 1095 (ปาย-แม่มาลัย) และแยกเข้าสาย 1265 ด้านขวามือตรงบริเวณหลักกม.ที่ 85-86 ใกล้กับหน่วยพิทักษ์และรักษาป่าแม่ปิงเป็นทางลูกรัง อุณหภูมิของน้ำร้อนสูงถึง 95 องศาเซลเซียส และพลุ่งขึ้นเป็นระยะ ๆ-----------------------------------------------------------น้ำพุร้อนเมืองแปงอยู่บริเวณบ้านเมืองแปง ตำบลเมืองแปง เป็นบ่อน้ำพุร้อนขนาดใหญ่ ห่างจากอำเภอปายประมาณ 29 กม. อุณหภูมิร้อนถึง 95 องศาเซลเซียส และพุ่งขึ้นเป็นระยะๆ

ประเพณีของจังหวัดแม่ฮ่องสอน

ประเพณีแม่ฮ่องสอนประเพณีสิบสองมนล่องผ่องไตประเพณีสิบสองมนล่องผ่องไตประเพณีสิบสองมนล่องผ่องไตหรือลอยกระทงไทยใหญ่ เป็นประเพณีเก่าแก่ของชาวไต ซึ่งเป็นชุมชนดั้งเดิม โดยมีคติความเชื่อที่แตกต่างจากการลอยประทงเพื่อบูชาพระแม่คงคา แต่เป็นประเพณีที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการบูชาพระอุปคุต 8 องค์ หรือพระอรหันต์ ตามความเชื่อของชาวไตโบราณ ซึ่งเชื่อว่า พระอรหันต์ทั้ง 8 องค์นี้ มี 4 องค์ที่มรณภาพ ส่วนที่เหลืออีก 4 องค์ยังคงปฏิบัติธรรมอยู่กลางมหานพและทุกวันเพ็ญเดือน 12 พระอรหันต์ทั้ง4 จะเวียนขึ้นมาโปรดสัตว์และเผยแพร่พระพุทธศาสนา โดยชาวไตจะถวายอัฐบริวารต่างๆ และลอยสิ่งของและเครื่องใช้ต่างๆ ลงในลำนำเพื่อเป็นการให้ทานและถวายเป็นพุทธบูชาในวันขึ้น 15 คำ เดือน 12ประเพณีปอยส่างลองประเพณีปอยส่างลองหรือการบรรพชาสามเณรแบบไทยใหญ่หรือไต เป็นประเพณีประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอนที่เกิดจากศรัทธายึดมั่นในพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคงของชาวไทยใหญ่ ซึ่งเป็นพุทธศาสนิกชนที่มีความเคร่งครัดในประเพณีเป็นอย่างมากโดยมีความเชื่อว่า การจัดพิธีบวชสามเณร ซึ่งเป็นยุวชนชาย อายุตั้งแต่ 10 ขวบ ที่ยังมีจิตใจใสบริสุทธิ์ จะได้รับกุศลตอบแทนสูงมาก เด็กที่บวชจะเรียกว่า ' ส่างลอง' โกนผมแต่ไม่โกนคิ้ว แต่งกายประดับด้วยเครื่องประดับที่มีค่า โพกศรีษะแบบพม่า นุ่งโสร่ง ทาแป้งขาวเขียนคิ้วทาปาก งานพิธีมีกิจกรรมที่น่าสนใจ เช่น ขบวนแห่เครื่องไทยทานและส่างลอง ขบวนแห่กลองยาวและกลองมองเซิง การแสดงศิลปวัฒนธรรมของชาวไทยใหญ่ โดยจะมีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ในช่วงวันที่ 25 มีนาคม - 15 เมษายน ของทุกปีประเพณีปอยเหลินสิบเอ็ดปอยเหลินสิบเอ็ดหรือประเพณีออกพรรษา เป็นประเพณีที่สำคัญสำหรับชาวแม่ฮ่องสอน จะมีการตักบาตรเทโว ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ณ วัดพระธาตุดอยกองมู ลงมาจนถึงวัดม่วยต่อ ซึ่งอยู่บริเวณเชิงเขา พระภิกษุสามเณรและประชาชนที่มาทำบุญนับพันจะเรียงรายสองข้างทางเป็นภาพที่งดงามและประทับใจกับผู้มาเยือน และในช่วงตอนเย็นจะมีการแห่/ประกวดจองพาราหรือปราสาทรับเสด็จพระพุทธเจ้า ตอนกลางคืนตามบ้านเรือนต่างๆ จะจุดประทัปโคมไฟ สว่างไสว

เกมส์กองทับดับเบิลดอร์

http://www.darkarts-defence.com/th/home.aspx